skip to main
|
skip to sidebar
Home
สำนักงานเกษตรจังหวัด
ศูนย์ส่งเสริมอาชีพ
ศูนย์ส่งเสริมการเกษตร
เช็คราคาสินค้าเกษตรรายวัน
ปลาดุก
marketing
การเลี้ยงปลาดุก ในบ่อซีเมนต์
เป็น วิธีการเลี้ยงปลาอีกวิธีหนึ่งที่สามารถเลี้ยงกันได้ง่าย และสำหรับสถานที่ก็ใช้พื้นที่ไม่เยอะ และสามารถเคลื่อนย้ายท่อปูนซีเมนต์ได้ง่ายด้วย ค่าลงทุนในการการเลี้ยงก็ไม่มากสามารถนำไปประกอบเป็นอาชีพเสริมได้ ส่วนผลตอบแทนก็เป็นที่น่าภูมิใจ จากการลงพื้นที่ของเจ้าหน้าที่ร่วมด้วย ช่วยกันสำนึกรักบ้านเกิด จ.สงขลา ได้พบกับคุณชาลี สุวรรณชาตรี อยู่บ้านเลข ที่ 319 ม.18 ต.ท่าช้าง อ.บางกล่ำ จ.สงขลา เกษตรกรผู้ที่เลี้ยงปลาดุกในท่อ ปูนซีเมนต์ ได้บอกถึงวิธีการเลี้ยงปลาดุกด้วยระบบชีวภาพซึ่งมีขั้นตอนการ เลี้ยงดังนี้
การเลี้ยงปลาดุก ในบ่อซีเมนต์ การเตรียมอุปกรณ์
1.ท่อปูนซีเมนต์ขนาด 100*50 เซนติเมตร
2.ท่อพีวีซี ขนาด 1 นิ้ว ยาว 20 เซนติเมตร จำนวน 1 เส้น และยาว 40 เซนติเมตร จำนวน 1 เส้น
3.ข้องอพีวีซีขนาด 1 นิ้ว จำนวน 1 อัน
4.ยางนอกรถสิบล้อจำนวน 1 เส้น
5.ยางนอกรถจักรยานยนต์จำนวน 1 เส้น
6.ตาข่าย
7.น้ำหมักสูตรเลี้ยงปลา
8.ปูน ทราย หิน
9.อาหารสำหรับเลี้ยงปลาดุก
10.พืชผักที่ปลากิน เช่น ผักบุ้ง ผักตบชวา ฯลฯ
11.ลูกปลาดุก 70-80 ตัว
การเลี้ยงปลาดุก ในบ่อซีเมนต์ การเตรียมบ่อปูนซีเมนต์สำหรับเลี้ยงปลาดุก
1.จะต้องทำการฆ่ากรดฆ่าด่างในบ่อปูน โดยให้นำหัวกล้วยหรือโคนกล้วยมาสับให้เป็นชิ้นเล็กๆ นำมูลวัวมาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนำใส่ไปในบ่อใส่น้ำให้เต็ม แล้วหมักไว้ 5 วัน จากนั้นให้เปิดน้ำทิ้งแล้วเอาโคนกล้วยออกทิ้งด้วย
2.นำน้ำสะอาดใส่ไปในบ่อแล้วแช่ทิ้งไว้ 1 วัน หลังจากนั้นก็ให้เปิดน้ำทิ้ง
3.นำผักบุ้งมาถูให้ทั่วบ่อ ทิ้งไว้ตากบ่อให้แห้ง
การเลี้ยงปลาดุก ในบ่อซีเมนต์ การทำน้ำหมักสูตรเลี้ยงปลา
1.ถังพลาสติกที่มีฝาปิดจำนวน 1 ถัง
2.น้ำตาลทรายแดง 3 กิโลกรัม
3.ฟักทองแก่ 3 กิโลกรัม
4.มะละกอสุก 3 กิโลกรัม
5.กล้วยน้ำหว้าสุก 3 กิโลกรัม
วิธีทำน้ำหมักสูตรเลี้ยงปลา
หั่นมะละกอ, กล้วยน้ำหว้า, ฟักทองทั้งเปลือกและเมล็ดใส่ไว้ในภาชนะที่มีฝาปิด ผสมน้ำตาลทรายแดง แล้วคนให้เข้ากันและปิดฝาให้แน่นหมักทิ้งไว้ 7 วัน แล้วเติมน้ำสะอาด 9 ลิตร ปิดฝาให้แน่นแล้วหมักต่ออีก 15 วัน
ประโยชน์
-เป็นฮอร์โมนพืช เร่งดอก เร่งผล รสชาติหวานอร่อย
-ปลาไม่เป็นโรค
-ปลาไม่มีกลิ่นสาบ
-ปลาไม่มีมันในท้อง
-ปลาจะมีเนื้อหวานรสชาติอร่อย
การเลี้ยงปลาดุก ในบ่อซีเมนต์ การเลี้ยง
1.นำท่อปูนที่มีรอยคราบผักบุ้ง หรือบ่อปูนที่ไม่มีกรดไม่มีด่าง ใส่น้ำให้มีความสูง 10 เซนติเมตร (ช่วงปลาขนาดเล็ก เพิ่งนำมาปล่อย) แล้วเติมน้ำหมัก 1 ช้อนโต๊ะ
2.นำปลาดุกมาแช่น้ำในบ่อปูนทั้งถุง แล้วค่อยๆเปิดปากถุงให้ปลาว่ายออกมาเอง
3.วันแรกที่นำปลามาปล่อยไม่ต้องให้กินอาหาร
4.นำพืชผักที่ปลากิน เช่นผักบุ้ง ผักตบชวาและอื่นๆมาใส่ในบ่อ
5.การให้อาหาร ปลา 1 ตัวให้อาหาร 5 เม็ด/เมื้อ ในช่วงปลาเล็กให้อาหารวันละ 2 เมื้อ เช้า-เย็น ปลาอายุ 1 เดือนครึ่งให้อาหารปลาขนาดกลาง โดยให้อาหารวันละ 1 ครั้ง ให้ปลากินตอนเย็น
หมายเหตุ ก่อนให้อาหารต้องนำอาหารมาแช่น้ำก่อนเสมอประมาณ 10-15 นาที
เหตุผลเพื่อ
1.ปลาจะได้กินอาหารทุกตัว
2.ปลาตัวที่แข็งแรงจะทำให้ท้องไม่อืด
3.ปลาไม่ป่วย
4.การเจริญเติบโตใกล้เคียงกัน
5.อาหารไม่เหลือในบ่อและน้ำก็ไม่เสีย
6.ถ่ายน้ำทุกๆ 7 วัน หรือ 10 วัน/ครั้ง ทุกครั้งที่ถ่ายน้ำจะต้องใส่น้ำหมัก 1 ช้อนโต๊ะเสมอ
การเลี้ยงปลาดุก ในบ่อซีเมนต์ การจำหน่าย
1.ก่อนจะจำหน่าย 2 วัน ให้นำดินลูกรังสีแดงหรือซังข้าวมาแช่ไว้ในบ่อ จะทำให้ปลาดุกมีสีเหลืองสวย ขายได้ราคาดี
2.ปลาดุก 3 เดือนครึ่ง จำนวน 70 ตัว จะมีน้ำหนัก 14-15 กิโลกรัม หรือประมาณ 4-5 ตัว/กิโลกรัม จำหน่ายได้กิโลกรัมละ 60-70 บาท
3.ต้นทุนอาหารกิโลกรัมละ 19-20 บาท หมายเหตุ ต้นทุนครั้งแรก 1 ชุด 430 บาท น้ำที่ถ่ายทิ้งจากบ่อปลาสามารถนำมารดต้นไม้ พืชผักสวนครัว เป็นปุ๋ยอย่างดี
หมายเหตุ : ราคาที่จำหน่ายปลาขึ้นอยู่แต่ละพื้นที่ ต้นทุนการผลิตขึ้นกับวัสดุและอุปกรณ์ในแต่ละท้องถิ่น
หมวดหมู่:
การเพาะเลี้ยงปลา
Newer Post
Older Post
Home
> บทความที่ได้รับความนิยม
การปลูกถั่วลันเตา
marketing การปลูกถั่วลันเตา ถั่วลันเตา เป็นพืชผักชนิดหนึ่งที่มีบริโภคในบ้านเรา แต่ไม่ค่อยแพร่หลายเท่าใดหนั...
วิธีเพาะเลี้ยงปลากระทิงลาย
วิธีเพาะเลี้ยงปลากระทิง ปลากระทิงลาย ลักษณะทางชีววิทยา ปลากระทิงลาย ชื่อสามัญ Armed Spiny Eel ชื่อวิทยาศาสตร์ Mastacembelus armatus ...
การปลูกดาหลา
marketing ลักษณะทั่วไปเกี่ยวกับดาหลา ดาหลา เป็นไม้ดอกที่มีการปลูกมาเป็นระยะเวลานานแล้ว ทางภาคใต้ของไทย ซึ่งเดิมได้มีการนําหน่ออ่อน...
สูตรการทำมะม่วงดอง
เคล็ดลับเพื่อความปลอดภัยในการทำมะม่วงดอง วิธีการดองเริ่มจากการล้างทำความสะอาดมะม่วงก่อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนมากับมะม่วง ภา...
การปลูกเฉาก๊วย
marketing การปลูกเฉาก๊วย เฉาก๊วย เป็นพืชในวงศ์ Lamiaceae (วงศ์มิ้นท์) วงศ์เดียวกับ สะระแหน่ กะเพรา โหระพา แมงลัก และยี่หร่...
อ่านบทความเกษตรย้อนหลัง
อ่านบทความเกษตรย้อนหลัง
December (3)
October (1)
April (1)
January (22)
December (5)
November (2)
September (5)
August (2)
June (5)
May (6)
April (3)
March (9)
February (9)
January (22)
December (15)
November (16)
October (3)
August (108)
พืชผักสวนครัว
การเพาะเลี้ยงปลา
พืชไร่
ผลไม้
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
สัตว์เลี้ยง
การเพาะเห็ด
สูตรการหมักดองอาหาร
ดอกไม้
สมุนไพรไทย
การทําปุ๋ยอินทรีย์
การเลี้ยงไก่
สูตรการทำอาหาร
มะพร้าวกะทิ
ภาคกลาง / 9 จังหวัด
ภาคตะวันตก / 8 จังหวั
ภาคตะวันออก / 9 จังหวัด
ภาคอีสาน / 20 จังหวัด
ภาคใต้ / 14 จังหวัด
ภาคเหนือ / 17 จังหวัด
กรุงเทพมหานคร
จังหวัดชัยนาท
จังหวัดนนทบุรี
จังหวัดปทุมธานี
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดอ่างทอง
จังหวัดลพบุรี
จังหวัดสิงห์บุรี
จังหวัดสระบุรี
จังหวัดกาญจนบุรี
จังหวัดนครปฐม
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดเพชรบุรี
จังหวัดราชบุรี
จังหวัดสมุทรสงคราม
จังหวัดสมุทรสาคร
จังหัวสุพรรณบุรี
จังหวัดจันทบุรี
จังหวัดฉะเชิงเทรา
จังหวัดชลบุรี
จังหวัดตราด
จังหวัดนครนายก
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดระยอง
จังหวัดสมุทรปราการ
จังหวัดสะแก้ว
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดกาฬสินธุ์
จังหวัดขอนแก่น
จังหวัดชัยภูมิ
จังหวัดนครพนม
จังหวัดนครราชสีมา
จังหวัดบุรีรัมย์
จังหวัดบึงกาฬ
จังหวัดมหาสารคาม
จังหวัดมุกดาหาร
จังหวัดยโสธร
จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดเลย
จังหวัดสกลนคร
จังหวัดสุรินทร์
จังหวัดหนองคาย
จังหวัดหนองบัวลำภู
จังหวัดอำนาจเจริญ
จังหวัดอุดรธานี
จังหวัดอุบลราชธานี
จังหวัดกระบี่
จังหวัดชุมพร
จังหวัดตรัง
จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนราธิวาส
จังหวัดปัตตานี
จังหวัดพังงา
จังหวัดพัทลุง
จังหวัดถูเก็ต
จังหวัดยะลา
จังหวัดระนอง
จังหวัดสงขลา
จังหวัดสตูล
จังหวัดสุราษฏร์ธานี
จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดเชียงราย
จังหวัดกำแพงเพชร
จังหวัดตาก
จังหวัดนครสวรรค์
จังหวัดน่าน
จังหวัดพะเยา
จังหวัดพิจิตร
จังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดเพชรบูรณ์
จังหวัดแพร่
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดลำปาง
จังหวัดลำพูน
จังหวัดสุโขทัย
จังหวัดอุตรดิตถ์
จังหวัดอุทัยธานี
การเกษตร(ผึ้ง)
การเกษตร(พืชสวน)
การเกษตร(หม่อนไหม)
การเกษตรจักรกลเกษตร
เกษตร(พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง)
การเกษตร(ยางพารา)
จังหวัดชุมพร
จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดจันทบุรี
จังหวัดขอนแก่น
เชียงราย
จังหวัดนครราชสีมา
จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดน่าน
จังหวัดยโสธร
จังหวัดเลย
จังหวัดยะลา
จังหวัดฉะเชิงเทรา
จังหวัดกระบี่
จังหวัดสุราษฏร์ธานี
จังหวัดระยอง
สมุทรสาคร
จังหวัดน่าน
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดชัยนาท
จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดเพชรบุรี
จังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดอุดรธานี
จังหวัดมหาสรคาม
จังหวัดบุรีรัมย์
จังหวัดลำพูน
จังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดนครราชสีมา
จังหวัดสุพรรณบุรี
หนองคาย
ศูนย์ส่งเสริมเกษตรที่สูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช
ศูนย์ส่งเสริมเยาวชนเกษตร
จังหวัดกาญจนบุรี
จังหวัดเชียงราย
จังหวัดลำพูน
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดเลย
จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดขอนแก่น
จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดชัยนาท
จังหวัดนครราชสีมา
จังหวัดชลบุรี
จังหวัดสุราษฏร์ธานี
จังหวัดสงขลา
จังหวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดกาญจนบุรี
ตลาดไท
ตลาดสี่มุมเมือง