จิ้งหรีด เป็นแมลงที่พบทั่วไปตามธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ตัวอ่อน และตัวเต็มวัย จะหลบซ่อนตัวตามสนามหญ้าและทุ่งหญ้า ตามรอยแตกของดิน รูใต้ดิน หรือใต้กองเศษหญ้า จิ้งหรีดมีลำตัวกระทัดรัดมีขาคู่หน้าที่ใหญ่แข็งแรงมาก กระโดดเก่ง กินพืชเป็นอาหาร ปัจจุบันนิยมบริโภคจิ้งหรีดเป็นอาหาร ให้สารอาหารโปรตีนสูง ปลอดสารพิษสามารถรักษา โรคขาดสารอาหารได้ ผู้เขียนได้เริ่มศึกษาตั้งแต่ year 2536 และต่อมาได้รับข้อมูลจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และได้นำจิ้งหรีดพันธุ์ทองดำจากธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์มาเพาะเลี้ยงพบว่า จิ้งหรีดพันธุ์ทองดำ เลี้ยงง่ายขยายพันธุ์เร็วให้ผลผลิตสูง แม่พันธุ์ 1 ตัว ให้ลูกได้ถึง 1,000 ตัว เหมาะที่
เกษตรกรจะนำมาเลี้ยงเป็น อาชีพเสริมไว้บริโภค และขายเพิ่มรายได้กับครอบครัวซึ่งการเลี้ยงจิ้งหรีดใช้เวลาไม่มาก หรือใช้เวลาว่างจากการเพาะ ปลูกมาดูแลจิ้งหรีดภายในเวลา 1 year สามารถเลี้ยงจิ้งหรีดได้ 4 รุ่น
1. ชีววิทยาของจิ้งหรีด
1.1 จิ้งหรีดแม่พันธุ์ 1 ตัว วางไข่ได้ถึง 1,000 ฟอง โดยแบ่งการ วางไข่เป็น 4 รุ่น แม่พันธุ์จะใช้เข็มวางไข่ไว้ใต้ดินที่มีความชื้น ไข่จะฟักออกเป็นตัว เมื่ออายุครบ 7 วัน
1.2 ฟักออกจากไข่ช่วงแรกยังไม่มีyearกจะเริ่มมีตุ่มyearกใน กลางวัยอ่อน ลอกคราบ 8 ครั้ง เข้าสู่วัยแก่มีyearกรวมอายุวัยอ่อน ระหว่าง 36-40 วัน
1.3 มีyearก 2 คู่ เพศผู้yearกคู่หน้าย่นมีหนามไว้ทำเสียงเพศเมีย yearกเรียบ และมีเข็มวางไข่อยู่ส่วนท้ายของลำตัว อายุวัยแก่ประมาณ 45-60 วัน
1.4 ตัวเต็มวัยอายุ 3-4 วันจะเริ่มผสมพันธุ์ตัวผู้จะยกyearกคู่หน้า ถูกันส่งเสียงเรียกตัวเมีย โดยตัวเมียจะขึ้นคร่อมบนหลังตัวผู้จะผสมพันธุ์ตลอด ฤดูการวางไข่ ตัวเต็มวัยจะตายภายใน 60 วัน
1.5 ตัวเมียเริ่มวางไข่เมื่อผสมพันธุ์ผ่านไป 3-4 วัน จะแบ่งการวางไข่เป็น 4 รุ่น จะวางไข่ไว้ใต้ดินฟักออกเป็นตัวเมื่อไข่อายุครบ 7 วัน
1.6 เพศผู้yearกคู่หน้าย่นมีหนามไว้ทำเสียง เพศเมียyearกเรียบทำเสียงไม่ได้ การทำเสียงเพศผู้จะยกyearกคู่หน้าขึ้นถูกันให้เกิดเสียงหลายจังหวะหลาย สำเนียง
2. อุปกรณ์การเลี้ยงจิ้งหรีด
1. ท่อปูนขนาดกว้าง 80 ซม. สูง 50 ซม. จำนวน 1 ท่อ
2. ฝาปิดท่อขนาด 80 ซม. จำนวน 1 แผ่น
3. ตาข่ายไนล่อนเขียว 100 x 100 ซม. จำนวน 1 ฝืน
4. แผ่นพลาสติก ขนาด 25 x 270 ซม. จำนวน 1 แผ่น
5. ยางรัดปากบ่อหนา 1 ซม. จำนวน 1 เส้น
6. ถาดอาหาร-น้ำ กว้าง xยาว =5x10 ลูก 1.5 ซม.2 ถาด
7. กระบอกไม้ไผ่ ยาว 20 ซม. ผ่าครึ่ง จำนวน 10 อัน
8. ดินร่วนปนทรายรองพื้น หนา 2 ซม.
9. เศษหญ้าแห้งวางหนา 2 ซม.
10. เทปกาว
3. การจัดการการเลี้ยงจิ้งหรีด
3.1 เรือนโรงหรือหลังคาป้องกันแดด-ฝนแดดส่องเช้า-เย็น
3.2 การปรับพื้นที่กำจัดมดและศัตรูจิ้งหรีด
3.3 การวางปอบนฝาใช้ปูนผสมทรายฉาบริมขอบภายใน-ภายนอกป้องกันมดเข้า
ทำลายลูกจิ้งหรีด
3.4 ติดแผ่นพลาสติกด้วยเทปกาว
3.5 พันธุ์จิ้งหรีด การเริ่มครั้งแรก หาพันธุ์ได้จากธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์คัดเลือกพ่อ-แม่พันธุ์
ที่มีตัวโต แข็งแรงมากอวัยวะครบทุกส่วน สีเข้ม อัตราส่วนพ่อพันธุ์ 1 ตัว ต่อแม่พันธุ์ 3 ตัว
ต่อ 1 บ่อ หลังปล่อยแล้วต้องตรวจนับทุก 3 วัน หากพ่อ-แม่พันธุ์ตาย ให้หาพันธุ์มา
ทดแทนจิ้งหรีดจะผสมพันธุ์วางไข่และฟักออก เป็นตัวอ่อนหลัง วันที่ 10 เลี้ยง 1 บ่อ
จะให้ลูกจิ้งหรีดได้ระหว่าง 2,100-2,500 ตัว
3.6 การให้อาหารและการให้น้ำ
3.6.1 พืชอาหาร ได้แก่ ต้นอ่อนและยอดอ่อนพืช หรือหญ้าสดทุกชนิด หญ้าขน
หญ้าลูญี่ เลี้ยงจิ้งหรีดโตเร็ว ให้ผลผลิตสูง 2 วัน ให้หญ้า 1 ครั้ง ๆ ละ 1 กำมือ
หญ้าเก่าไม่ ต้องนำออก จะเป็นที่อาศัยของจิ้งหรีดต่อไป
3.6.2 อาหารเสริม รำอ่อนหรืออาหารสำเร็ตรูปของเนื้อไก่ไข่ก็ได้ จิ้งหรีด 1
บ่อ ใช้อาหาร 1 กก. ราคา 12-13 บาท การให้อาหารเสริมให้ปริมาณ ที่กินหมด ภายใน
2 วัน
3.6.3 การให้น้ำใส่ถาดกว้าง x ยาว = 5x10 ซม. ลึก 1 ซม.ใส่สำลีหรือ
ฟองน้ำกับ จิ้งหรีดอ่อนตก เปลี่ยนน้ำทุก 2 วัน การให้น้ำเพื่อความชื้นให้รดน้ำ
ดินพื้นบ่อทุก 3 วันพอชื้น ไม่แฉะ ก่อนรดน้ำ นำถาดอาหารออกก่อนถ้าเyearยก จะเกิดรา
4. การลงทุนและผลประโยชน์ต่อyear
4.1 วัสดุเตรียมบ่อเลี้ยง มูลค่า 207 บาท
4.2 ค่าพันธุ์ 1 year เลี้ยง 4 ชุด ๆ ละ 10 บาท = 40 บาท
4.3 ค่าอาหาร 4 กก. ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน 52 บาท รวมต้นทุนทั้งสิ้น 299 บาท
4.4 ผลประโยชน์จากการเลี้ยง 1 บ่อ : year บ่อเลี้ยง 1 บ่อ
เลี้ยงได้ 4 รุ่น ๆ ละ 2 กก.
รวม 8 กก. ๆ ละ 100 บาท เงิน 800 บาท หักต้นทุน 299 บาท
คงเกลือกำไร 501 บาท
5. การบริโภคและการตลาด
5.1 จิ้งหรีดเป็นแมลงที่คนนิยมกินเป็นอาหารโปรตีน ให้คุณค่าอาหารสูงปลอดสารพิษสามารถรักษาโรคขาด
สารอาหารได้การปรุงอาหาร เช่น ทอด คั่ว แดง ห่อหมก และยำจิ้งหรีดก่อนนำมาปรุงอาหารบริโภคงดอาหาร
ให้กินเฉพาะน้ำ จิ้งหรีดจะถ่ายมูลออกหมด
5.2 การตลาด ตลาดท้องถิ่น และกรุงเทพฯ จิ้งหรีดสด 1 กก. มีจำนวน 1,000 ตัว ขายส่ง กก.ละ
100-150 บาท ขายyearกปรุงรส พร้อมบริโภค กก.ละ 150-200 บาท ราคาจิ้งหรีดขึ้นลง
ตามฤดู เช่น ฤดูหนาวราคาสูงเพราะจิ้งหรีดในธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์มีน้อย